บทบาทและหน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา
หน้าที่ของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. หาวิธี ที่ทาให้คนเกิดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเป็นตัวกลาง
2.ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้ง่าย รวดเร็ว สะดวก และเป็นไปอย่างมีระบบโดยแปลงเนื้อหาจากนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
บทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. ด้านการผลิต
2. ด้านการออกแบบพัฒนา
3. ด้านการเลือกและการใช้
4. ด้านการบริการและให้คาปรึกษา
5. ด้านการบริหาร
6. ด้านการวิจัย
แนวโน้มบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. เป็นนักพัฒนาการสอน
2. เป็นผู้ที่มีความรู้ในการวิจัย
3. มีความสามารถในการบริหาร
4. เป็นผู้ให้บริการ
5. เป็นผู้ให้การฝึกอบรม
6. เป็นผู้ส่งเสริมการใช้แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่เหมาะสม
คุณลักษณะของนักเทคโนโลยีการศึกษา
1. ด้านบุคลิกภาพ (คุณลักษณะส่วนตัว)
• มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
• มีความคิดสร้างสรรค์
• มีความอดทน มีอุดมการณ์ที่แน่นอน
• เป็นคนทันสมัย ค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ
• รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นคนใจกว้าง
• รู้จักประชาสัมพันธ์งานด้านเทคโนโลยีการศึกษา
2. ด้านความรู้ (คุณลักษณะทางด้านวิชาชีพ)
• มีความรู้สามารถให้คาแนะนา, ปรึกษาด้านเทคโนโลยีได้
• มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีการศึกษา
• สามารถควบคุมเครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ได้
• สามารถออกแบบ และผลิตสื่อการสอนได้
• รู้จักวางแผนและวางระบบการทางาน
• รู้จักหลักการบริหารคน เงิน วัสดุ
นักเทคโนโลยีการศึกษาต้องมีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริงมี ทักษะในการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ตลอดเวลา มีความสามารถในการบริหาร มีความคิดสร้างสรรค์ที่ดี มีความเป็นผู้นำ
ในปัจจุบัน
•นักเทคโนโลยีการศึกษาไม่ได้ทางานในสถาบันการศึกษาเท่านั้น
•นักเทคโนโลยีการศึกษาไม่ได้ทางานเพียงลาพัง
จรรยาบรรณวิชาชีพ
หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพประมวลขึ้นไว้เป็นหลัก เพื่อให้สมาชิกในวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติเพื่อรักษาชื่อเสียง และส่งเสริมเกียรติคุณของสาขาวิชาชีพของตนเอง (สภาวิจัยแห่งชาติ. 2541 : 2)
จรรยาบรรณของนักเทคโนโลยีการศึกษาไทย
(Code of Ethics of Thai Educational Technologists)
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน
3. จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน
4. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
5. จรรยาบรรณต่อสังคม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น